หลังจาก Netflix เคยประกาศว่าจะเริ่มจริงจังกับการห้ามแชร์รหัสผ่านระหว่างผู้ใช้กันมากขึ้น และเริ่มทำการเก็บเงินเพิ่ม สำหรับผู้ใช้ที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกันแล้วในหลายประเทศ ตอนนี้ ก็ถึงตาของประเทศไทยของเราบ้าง
เมื่อคืน Netflix ได้รายงานผลประกอบการและตัวเลขสำคัญ ๆ ในไตรมาสที่ผ่านมา (เมษายน-มิถุนายน) โดยมีเรื่องสำคัญคือ จำนวนสมาชิกรายเดือน ลดลงไป 970,000 รายทั่วโลก
ปัญหาใหญ่ที่ Netflix เจอในช่วงที่ผ่านมา คือ เรื่องของการแชร์พาสเวิร์ดร่วมกันใน 1 บัญชี โดยที่ผู้ใช้งานที่แชร์กัน ไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เดียวกัน ซึ่ง Netflix บอกมาตลอดว่า ปัญหาเรื่องนี้ ทำให้บริษัทไม่สามารถเก็บเงินค่าสมาชิกได้ตามความเป็นจริง
หลังจากที่เราได้ยินข่าวในเรื่องการปรับโครงสร้างองค์กร หรือลดพนักงานต่าง ๆ ไปแล้ว มาในวันนี้ Netflix ก็กำลังเตรียมแก้ไขปัญหาในเรื่องของจำนวนผู้ใช้งานที่ลดลงอย่างเข้มข้นขึ้นไปอีกขั้น โดยจะเริ่มต้นในเอเชียเป็นที่แรก
สิทธิ์ในการลา เป็นหนึ่งในสวัสดิการที่คนทำงานหลายคนนั้นมองหา และเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่หลายบริษัทมักจูงใจพนักงานให้มาร่วมงาน ด้วยการให้วันลาหยุดเยอะ ๆ ยิ่งบริษัทไหนให้สิทธิ์วันลาแก่พนักงานเยอะ พนักงานก็มักจะชอบและมีโอกาสที่จะทำงานอยู่กับบริษัทนั้นไปนาน ๆ แต่เราคงแปลกใจ ถ้าอยู่ดี ๆ บริษัทบอกเราว่า “อยากหยุดกี่วันก็ได้” และเรื่องนี้เป็นเรื่องจริงที่ Netflix นำมาเป็นสวัสดิการให้แก่พนักงาน ทำไม Netflix ถึงมีนโยบายแบบนี้ THE BRIEFCASE จะสรุปให้ฟัง
การจะระบายให้ใครสักคนฟังนั้น ก็มีความเสี่ยงทั้งเรื่องของเราจะถูกเล่าต่อให้คนอื่นฟัง หรือหากเราระบายอารมณ์ผ่านทางแช็ต สิ่งที่เราพิมพ์ไปก็จะถูกบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ที่อาจเป็นหลักฐานมัดตัวที่ทำให้เราเดือดร้อน อย่างเช่น ในกรณีของพนักงาน Netflix 3 คน ที่เรากำลังจะเล่าให้ฟัง..
สรุปเส้นทางมหากาพย์ การกำเนิด Netflix หนึ่งในวิดีโอสตรีมมิงใหญ่สุดในโลก
“ได้ครับพี่ ดีครับนาย สบายครับผม เหมาะสมครับท่าน” เชื่อว่าหลายคนคงคุ้นเคยกับคำนี้ คำที่บ่งบอกถึงพนักงานที่คอยทำอะไรตามที่คนอื่นสั่ง เอาอกเอาใจ เห็นว่าสิ่งที่คนอื่นทำนั้นดีแล้ว โดยที่ไม่กล้าออกความคิดเห็นอะไรเลย ซึ่งเรื่องนี้ ก็มีข้อดีคือ ทำให้คนในองค์กรไม่เกิดความขัดแย้ง แต่หากเรามองอีกมุม การประพฤติตนในลักษณะนี้ อาจส่งผลเสียให้กับองค์กรมากกว่าที่เราคิด แล้วทำไม การมีพนักงานแบบนี้ในองค์กรเยอะ ๆ ถึงเป็นเรื่องที่ไม่ดี ?
จาก Pain Point ในอดีตที่เคยถูกปรับจากการคืนวิดีโอภาพยนตร์ล่าช้า สู่ผู้ปฏิวัติวงการบันเทิง ให้เข้าสู่ระบบวิดีโอสตรีมมิง จนวันนี้ Netflix ได้กลายมาเป็นบริษัทที่มีมูลค่ากว่า 6.9 ล้านล้านบาท ซึ่งผู้ที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จนี้ก็ไม่ใช่ใครที่ไหน แต่คือ รีด เฮสติงส์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งและ CEO ร่วมของ Netflix ในปัจจุบันนั่นเอง แล้วเขาได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเป็น CEO ของ Netflix ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ?