การปรับโมเดลธุรกิจ ที่น่าสนใจ ของบริษัทเทคโนโลยีชื่อดัง
หลายคนที่ขึ้นมาเป็นผู้บริหาร คงไม่มานั่งเสียเวลาอ่านอีเมลรับฟังความเห็น การใช้งานของลูกค้าเสียเท่าไร แต่สำหรับ เจฟฟ์ เบโซส ผู้ก่อตั้งบริษัท และอดีตซีอีโอ Amazon นั้นกล่าวว่า ทุกวันนี้เขายังคงสุ่มอ่านอีเมลที่ลูกค้าส่งมาอยู่ แล้วยังเร่งให้พนักงานแก้ไขเวลาเจอปัญหาอยู่อีกด้วย แล้วทำไม เจฟฟ์ เบโซส ถึงคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ ?
รู้ไหมว่า ในตอนที่พ่อแม่นำเงินมาให้ เจฟฟ์ เบโซส ก่อตั้งธุรกิจนั้น พวกเขายังไม่ได้เข้าใจคำว่าอินเทอร์เน็ตเลย.. แต่ด้วยความที่เห็น เจฟฟ์สนใจและตั้งใจมากในการทำธุรกิจขายหนังสือออนไลน์ พวกเขาก็พร้อมที่จะสนับสนุนเงินให้แก่ลูกชายของเขา และ 26 ปีต่อมา จากวันเริ่มต้น วันนี้ Amazon ก็กลายมาเป็น บริษัทผู้ให้บริการเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซรายใหญ่ และมีมูลค่าบริษัทมากเป็นอันดับต้น ๆ ในโลกใบนี้
รู้ไหมว่าปัจจุบัน บริษัทอย่าง Amazon.com เป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากเป็นอันดับ 5 ของโลก อยู่ที่ประมาณ 59 ล้านล้านบาท และถึงแม้ว่าจะก่อตั้งมานานกว่า 27 ปี แต่ก็ยังสามารถสร้างการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แล้ว Amazon.com มีกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจอย่างไร THE BRIEFCASE จะสรุปให้ฟัง
รู้หรือไม่ว่า พนักงานของบริษัท Amazon เคยออกมาเรียกร้องเรื่องสิทธิของตัวเองด้วยเหตุผลที่บริษัทให้สวัสดิการไม่ดีพอ หรือให้ค่าจ้างที่ไม่สมเหตุสมผล คำถามก็คือ ทำไมบริษัทระดับโลกอย่าง Amazon ที่มีเจ้าของอย่าง เจฟฟ์ เบโซส มหาเศรษฐีที่รวยที่สุดในโลก ถึงได้บริหารองค์กรให้พนักงานรู้สึกเช่นนั้น..
การทำงานจากบ้าน หรือ Work From Home กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้วในตอนนี้ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และระบบอินเทอร์เน็ต กำลังช่วยเราให้ทำงานจากบ้านได้อย่างราบรื่น ขณะที่ บริษัทยักษ์ใหญ่ หรือสตาร์ตอัป เริ่มให้ความสำคัญเรื่องพื้นที่สำนักงานน้อยลง แม้แต่เหล่าบริษัท Big Tech ของสหรัฐอเมริกา อย่าง Facebook, Twitter และ Google ต่างก็ปรับรูปแบบการทำงาน ที่สอดคล้องกับการทำงานจากบ้านได้มากขึ้น แต่ทำไม Amazon หนึ่งในกลุ่ม Big Tech ของสหรัฐอเมริกา ยังเลือกที่จะขยายสาขาสำนักงานอยู่ในขณะนี้ ?
เราคงเคยได้ยินกันมาบ้างว่า บริษัทที่เพิ่งเริ่มดำเนินธุรกิจในปีแรก ๆ ถ้าอยากเติบโตเร็ว ก็ต้องแลกกับการไม่มีกำไร ตัวอย่างบริษัทใกล้ตัวเรา ก็อย่างเช่น ธุรกิจอีคอมเมิร์ซอย่าง Lazada, Shopee หรือบริษัทที่ให้บริการฟูดดิลิเวอรี อย่าง Grab, Foodpanda บริษัทที่ว่ามาเหล่านี้ขาดทุนติดต่อกันมาแล้วหลายปี แต่จำนวนผู้ใช้งานและรายได้ ก็กำลังเติบโตแบบก้าวกระโดดเช่นกัน หรือหากเราลองดูจากบริษัทชื่อดังระดับโลกหลายบริษัท ก็จะพบว่า หลายบริษัทต้องใช้เวลาหลายปีเลยทีเดียวกว่าจะมีกำไร เช่น - Facebook ใช้เวลา 5 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทจึงจะสามารถทำกำไรได้ - Amazon.com ใช้เวลา 7 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทจึงจะสามารถทำกำไรได้
3 แนวคิดการบริหาร จาก Andy Jassy หัวเรือคนใหม่ ของ Amazon
รู้หรือไม่ว่า Nasdaq คือดัชนีที่เป็นตัวแทนของบริษัทเทคโนโลยีใหญ่ระดับโลก ไม่ว่าจะเป็น Amazon.com, Apple, Google หรือ Facebook ซึ่งหุ้นทุกตัวที่กล่าวมา ล้วนเป็นหนึ่งในหุ้นที่ถือโดยกองทุน K-USXNDQ-A ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด (KAsset) โดยจากวิกฤติโควิด 19 ที่ผ่านมา ธุรกิจส่วนมากต้องปิดตัวลงไป คนส่วนใหญ่ไม่สามารถเดินทางหรือทำธุรกรรมเหมือนเดิมได้ แต่มีอุตสาหกรรมหนึ่งที่สร้างผลตอบแทนได้ดีแม้ในช่วงวิกฤติโควิด 19 นั่นก็คือ อุตสาหกรรมเทคโนโลยี จากผลประกอบการ 1 ปีที่ผ่านมา กำไรของหุ้นในกลุ่มเทคโนโลยี อย่างเช่น FANGMAN ได้เติบโตขึ้นอย่างมาก
ความล้มเหลวและความกลัวที่จะผิดพลาด มักจะเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการหลาย ๆ คนกลัว เพราะกลัวว่าจะต้องสูญเสียทั้งเงินและทรัพยากรไปอย่างมหาศาล แต่ในบางครั้งการที่จะริเริ่มสร้างนวัตกรรมอะไรใหม่ ๆ ออกมา ก็มักจะต้องเริ่มจากศูนย์ จากการที่ไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน และต้องแลกมาด้วยการผิดพลาดนับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกบริษัท ไม่เว้นแม้กระทั่งบริษัทที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ แล้วบริษัทที่ประสบความสำเร็จระดับโลก มีมุมมองต่อความล้มเหลวอย่างไร ?
เมื่อไรก็ตามที่ต้องมีการนำเสนออะไรสักอย่างในบริษัท ส่วนใหญ่คนก็จะนึกถึงการทำ PowerPoint ซึ่งนี่แหละเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหา ที่เจฟฟ์ เบโซส CEO ของ Amazon มองเห็น และในปี 2011 เจฟฟ์ เบโซส ก็ได้ประกาศในจดหมายประจำปีของทางบริษัทเลยว่า “การนำเสนอจะไม่ใช้ PowerPoint” แล้วการนำเสนองานด้วย PowerPoint นั้นมีปัญหาอย่างไร ? THE BRIEFCASE จะสรุปให้ฟัง..
3 เหตุผล ทำไม Amazon ต้องเข้าซื้อสตูดิโอ MGM