อีกไม่ถึง 24 ชั่วโมง ก็จะเข้าสู่ปี 2022 กันแล้ว แล้วคุณตั้งเป้าหมาย หรือปณิธานในการพัฒนาตัวเองสำหรับปีใหม่กันแล้วหรือยัง ? การตั้งปณิธาน หรือความปรารถนา เป็นเรื่องสำคัญที่จะทำให้เรามีหลักหรือมีหมุดหมายในการพัฒนาตัวเองต่อไปได้ถูกทาง บทความนี้ THE BRIEFCASE จะพาไปส่องแนวคิด ของ CEO ระดับโลก ว่าพวกเขา มีหลักในการตั้งปณิธานปีใหม่กันอย่างไรบ้าง..
รู้ไหมว่า ในปัจจุบันบริษัทเทคโนโลยีชื่อดังของโลกหลายแห่ง มี CEO เป็นชาวอินเดีย ไม่ว่าจะเป็น.. คุณ Sundar Pichai CEO ของบริษัท Alphabet ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของ Google คุณ Satya Nadella CEO ของบริษัท Microsoft คุณ Ajay Banga CEO ของบริษัท Mastercard คุณ Shantanu Narayen CEO ของบริษัท Adobe คำถามคือ แล้วทำไมคนอินเดีย จึงถูกเลือกให้กลายมาเป็น ผู้นำบริษัทเทคโนโลยีระดับโลก และทำได้ดีไม่แพ้เชื้อชาติอื่น ๆ ?
80% ของความสำเร็จ มาจาก EQ
วิธีบริหารทีม ให้มีแรงจูงใจทำงาน ของผู้บริหาร ระดับโลก
EQ หรือ Emotional Quality คือ ความฉลาดทางด้านอารมณ์ ซึ่งเป็นอีกความฉลาดด้านหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้ ความฉลาดทางด้านเชาวน์ปัญญา หรือ Intelligence Quality (IQ) การมีความฉลาดทางด้านอารมณ์ในระดับสูง จะทำให้ตัวผู้นำ ดูมีวุฒิภาวะ น่านับถือ ซึ่งสำคัญมากต่อการสร้างความเชื่อใจต่อลูกทีม และนำพาทีมและองค์กร ไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ ในโลกที่มีความไม่แน่นอนอยู่ตลอดเวลา ได้อย่างราบรื่น แล้วอะไรคือปัจจัยในการวิเคราะห์ ความฉลาดทางด้านอารมณ์ ?
รู้หรือไม่ ? บริษัท Microsoft ที่ตอนนี้ถูกมองว่า เป็นบริษัทที่โดดเด่นในเรื่องของ Empathy หรือก็คือ ความเห็นอกเห็นใจ ยึดผู้ใช้งานเป็นศูนย์กลาง แต่รู้ไหมว่า ในอดีต ซีอีโอคนปัจจุบันอย่าง คุณสัตยา นาเดลลา ไม่เคยเข้าใจเรื่องเหล่านี้มาก่อนเลย โดยเรื่องนี้ถูกเขียนไว้ในหนังสือที่ชื่อว่า Hit Refresh ซึ่งเขียนโดยตัวเขานั่นเอง หลายคนอาจไม่เชื่อว่า คนที่ดูใจเย็น คนที่แก้ปัญหาการเมืองในที่ทำงาน และคนพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาอยู่แถวหน้าได้อย่างคุณสัตยา จะเคยไม่มีความเข้าใจในเรื่อง Empathy มาก่อน แล้วอะไรถึงทำให้คุณสัตยา นาเดลลา รู้จักคำว่า “เห็นอกเห็นใจ” มากขึ้น ? THE BRIEFCASE จะสรุปให้ฟัง..
ทุกวันนี้แทบทุกอุตสาหกรรมมีการแข่งขันที่ดุเดือด ซึ่งแน่นอนว่าสิ่งที่ตามมาก็คือ การทำงานในทุกภาคส่วน ต้องใช้พลังกายและพลังสมองของพนักงานมากขึ้นเรื่อย ๆ และในขณะเดียวกันหลาย ๆ องค์กรก็อยากรักษาพนักงานของตัวเองเอาไว้ให้นานที่สุด โดยหนึ่งในวิธีที่หลายองค์กรมักเลือกทำก็คือ “การเพิ่มค่าตอบแทน” เพื่อหวังว่าจะเติมเต็มความสุข และเพิ่มพลังในการทำงานให้กับพนักงานได้ แต่จากข้อมูลของ HR in ASIA เว็บไซต์จัดหางานในเอเชีย ก็พบว่า บางครั้งเงินก็ซื้อความสุขให้กับพนักงานไม่ได้ เสมอไป.. แล้วอะไรบ้างที่จะช่วยทำให้พนักงานมีความสุข และอยู่กับองค์กรไปได้นาน ๆ อีกบ้าง ? THE BRIEFCASE จะสรุปให้ฟัง..